สถานทูตยูเครน ปิดรับ สมัครทหารอาสา แบบวอล์ก-อิน

สถานทูตยูเครน ปิดรับ สมัครทหารอาสา แบบวอล์ก-อิน

สถานทูตยูเครน ประกาศ ปิดรับ สมัครทหารอาสา แบบวอล์ก-อิน แล้ว โดยให้เหตุผลเรื่องความปลอดภัย ชี้ยังสามารถสมัครได้ที่เมลล์ตามเดิม จากกระแสข่าวที่มีชาวไทยจำนวนหนึ่งเดินทางไปยังสถานทูตยูเครนประจำประเทศไทย หลังจากที่ประชาชนกลุ่มดังกล่าวสนใจจะสมัครเป็นทหารอาสาเพื่อร่วมสู้รบในประเทศยูเครนที่ขณะนี้กำลังถูกประเทศรัสเซียรุกรานอย่างหนักนั้น

ล่าสุดเว็บไซต์ Sanook ระบุว่า 

สถานเอกอัครราชทูตยูเครนปิดรับสมัครทหารอาสาช่วยรบแบบเดินไปยื่นเอกสารบนอาคารที่ตั้งสถานทูตแล้ว และให้ยื่นเอกสารผ่านอีเมลเท่านั้น โดยเจ้าหน้าที่ฝ่ายประชาสัมพันธ์ให้เหตุผลว่า สาเหตุที่ต้องยกเลิกการวอล์กอิน เนื่องจากเหตุผลด้านความปลอดภัย

ทั้งนี้บริเวณตึก ซีอาร์ซี ทาวเวอร์ ซึ่งเป็นที่ตั้งของสถานทูตนั้นมีป้ายตั้งอยู่ระบุว่า ผู้ที่ต้องการจะยื่นเป็นทหารอาสา สามารถส่งหน้าพาสปอร์ตและประวัติประสบการณ์ทางทหารได้ที่อีเมล lysakoleks2022@gmail.com

อย่างไรก็ตามผู้สมัครต้องเคยมีประสบการณ์ทางทหาร และจะต้องออกค่าใช้จ่ายเองทั้งหมด ก่อนหน้านี้ นาย โวโลดิมีร์ เซเลนสกี ประธานาธิบดียูเครน ได้ออกมาประกาศเชิญชวนให้ประชาชนชาวยุโรป หรือ ประชาชนทั่วโลกที่อยากเป็นส่วนหนึ่งในการต่อสู้ปกป้องแผ่นดินยูเครน ต่อการรุกรานของกองทัพรัสเซีย

โดยผู้ที่สนใจจะสมัครเป็นอาสาสมัครนั้นสามารถติดต่อ ผู้ช่วยทูตฝ่ายทหาร ภายในสถานเอกอัครราชทูตยูเครน ในประเทศของตนได้

พนักงานร้านที่เฝ้าสังเกตก็ได้เดินไปนำช็อกโกแลตร้อนไปให้เธอ โดยบอกว่าเป็นเครื่องดื่มที่ลูกค้าคนก่อนลืมรับ เมื่อเด็กหญิงวัย 18 ปีมองข้างแก้วก็พบข้อความที่เขียนว่า “เป็นอะไรไหม? ถ้าต้องการให้พวกเราช่วย ขอให้ดึงฝาแก้วออก

ทั้งนี้เธอไม่ได้ดึงฝาแก้วออก แต่เด็กหญิงคนดังกล่าวได้ขอบคุณพนักงานในร้านที่พยายามช่วยเธอ พร้อมระบุว่าในช่วงเวลาที่เธอนั่งในร้านที่เหลือ ทางร้านได้เฝ้าดูสถานการณ์อย่างใกล้ชิด

โดยผู้เป็นแม่เล่าเพิ่มเติมว่า ลูกสาวระบุว่าผู้ชายคนดังกล่าวได้เข้ามาพูดคุยกับเธอในหัวข้อที่เธอกำลังศึกษาอยู่แค่นั้น ทั้งนี้หลังจากที่โพสต์ดังกล่าวได้รับการเผยแพร่ออกไป ก็มีชาวเน็ตเข้ามาแสดงความประทับใจเรื่องราวดังกล่าวและแชร์ต่อออกไปเป็นจำนวนมาก

พรรคเดโมซิสโต (Demosistō) ที่โจชัว หว่องร่วมก่อตั้งเปิดเผยว่า “โจชัว หว่อง” แกนนำประท้วงการปฏิวัติร่มจะได้รับการปล่อยตัวในวันจันทร์ที่ 17 มิ.ย. เวลา 10.30 น. จากราชทัณฑ์ Lai Chi Kok

หว่องถูกจำคุกเป็นเวลาสามเดือนในเดือนม.ค. 2561 ในข้อหาขัดขวางเจ้าหน้าที่จากการประท้วงครั้งใหญ่ 6 วันต่อมาหว่องได้รับการปล่อยตัวจากการอุทธร์ แต่เมื่อเดือนพ.ค.ปีเขาถูกผู้พิพากษาอาวุโสจับเข้าคุกอีกครั้ง

รู้จัก NATO ฟางเส้นสุดท้าย ก่อนเกิดสงคราม

เชื่อว่าจะต้องไม่มีใครไม่เคยได้ยินคำว่า NATO เพราะนี่คือชื่อย่อของ North Atlantic Treaty Organization หรือ องค์การสนธิสัญญาป้องกันแอตแลนติกเหนือ ซึ่งเป็นองค์การที่ก่อตั้งขึ้นมาตั้งแต่ช่วงปี 1949 เพื่อช่วยเหลือเกื้อกูลกันหากประเทศสมาชิกมีภัยสงคราม หรือถูกโจมตีด้วยอาวุธ โดยจุดเริ่มต้นของ NATO นี้ สืบเนื่องมาตั้งแต่ภัยคุกคามในอดีต ช่วงที่สหภาพโซเวียตเรืองอำนาจ และเป็นภัยคุกคามต่อยุโรป มีสมาชิกเริ่มต้นองค์การเพียงแค่ 12 ประเทศเท่านั้น และแม้ว่าหลังจากนั้น โซเวียตจะล่มสลายไปแล้ว แต่องค์การ NATO ก็ยังคงอยู่มาจนถึงปัจจุบัน โดยมีจำนวนสมาชิกอยู่ที่ 30 ประเทศ 

ส่วนสาเหตุที่ทำให้ NATO เข้ามาเป็นปัจจัยในการสู้รบของรัสเซีย นั่นก็เพราะว่าประธานาธิบดีคนปัจจุบันของยูเครน ซึ่งก็คือ วอลอดือมือร์ แซแลนสกึย ผู้ที่ชนะการเลือกตั้งด้วยคะแนนเสียงขาดร้อยกว่า 73% นั้น ต้องการจะเข้าร่วม NATO นั่นเอง โดยมองว่านี่คือหนทางการเปิดประตูเพื่อความเจริญและเศรษฐกิจของยูเครน ทั้งยังจะได้ 30 ประเทศสมาชิกมาเป็นพันธมิตรของประเทศอีกด้วย 

แต่การกระทำนี้เปรียบเสมือนฟางเส้นสุดท้าย ที่ทำให้ผู้นำของรัสเซียตัดสินใจเคลื่อนทัพ เพราะมองว่าการที่ยูเครนเข้าร่วม NATO ถือเป็นภัยต่อความมั่นคงของรัสเซีย เนื่องจากยูเครนเป็นจุดยุทธศาสตร์ที่สำคัญของรัสเซีย ทั้งในแง่ของเศรษฐกิจและความปลอดภัย นอกจากนี้ รัสเซียยังเคยส่งจดหมายถึง NATO ให้ปัดคำขอเข้าองค์การของยูเครนทิ้ง แต่ NATO ปฏิเสธด้วยเหตุผลว่า ยูเครนมีเอกราชและอำนาจอธิปไตยเป็นของตัวเอง มีสิทธิ์เด็ดขาดที่จะเข้าหรือไม่เข้าร่วมองค์การสนธิสัญญาใด ๆ ก็ตาม ภายใต้การตัดสินใจของตนเอง เป็นเหตุให้รัสเซียตัดสินใจเคลื่อนทัพไปตามพรมแดนของยูเครนตั้งแต่ช่วงต้นปีที่ผ่านมา จนเกิดเป็นสงครามขนาดย่อมในยูเครนนับตั้งแต่นั้น โดยประธานาธิบดีรัสเซียกล่าวโดยสรุปได้ว่า หากยูเครนเข้าร่วม NATO อาจเกิดการปะทะเพราะต้องการเอาไครเมียคืน และสร้างความไม่มั่นคงให้กับรัสเซียได้ เพราะไครเมียเป็นเหมือนฉากกั้นที่เป็นปราการเบื้องต้นของรัสเซีย ทั้งยังอาจเป็นภัยต่อระบบเศรษฐกิจ และอนาคตของรัสเซียได้เช่นกัน 

จบกันไปแล้วนะคะ กับการพาไป ไขข้อสงสัย ข้อได้เปรียบ เสียเปรียบระหว่าง กองทัพ รัสเซีย ยูเครน นอกจากนี้ ยังรวบรวมมาให้ทั้งข้อมูลความสัมพันธ์ และชนวนเหตุหลักที่ทำให้เกิดสงครามขึ้นในปี 2022 อีกด้วย แต่ถ้าใครอยากรู้ว่าสถานการณ์ต่อจากนี้จะเป็นอย่างไร ก็ต้องคอยติดตามความคืบหน้ากันต่อไป พร้อมกับ The Thaiger Thailand นะ

“ฉันต้องการแสดงตัวตนของฉันในฐานะสาวนักวิทยาศาสตร์ ซึ่งมันเป็นความท้าทายมาก ในการแสดงให้ผู้คนเห็นว่า วิทยาศาสตร์ก็เป็นความสามารถพิเศษได้ จึงต้องคิดอะไรที่มันสนุก ๆ เพราะผู้คนมักจะมีความคิดว่า วิทยาศาสตร์เป็นเรื่องที่น่าเบื่อ”

Credit : แนะนำสถานที่ท่องเที่ยว | แต่งบ้านและสวน | พระเครื่อง | รีวิวกล้องถ่ายรูป